ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปค) (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย
สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้วย
สารบัญ |
[แก้] สมาชิก
ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ (19 ประเทศ 2 เขตเศรษฐกิจ) ประกอบด้วยมหาอำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และญี่ปุ่น รวมทั้งสมาชิกอาเซียน และประเทศในอเมริกาเหนือและใต้ ซึ่งประกอบด้วย :
- ออสเตรเลีย
- บรูไนดารุสซาลาม
- แคนาดา
- ชิลี
- จีน
- รัสเซีย
- ฮ่องกง
- อินโดนีเซีย
- ญี่ปุ่น
- เกาหลีใต้
- มาเลเซีย
- เม็กซิโก
- นิวซีแลนด์
- ปาปัวนิวกินี
- เปรู
- ฟิลิปปินส์
- สิงคโปร์
- จีนไทเป (ไต้หวัน)
- ไทย
- สหรัฐอเมริกา
- เวียดนาม
[แก้] การประชุมประจำปี
[แก้] APEC annual meetings
[แก้] ดูเพิ่ม
- เขตการค้าเสรีอาเซียน (อาฟตา)
- การประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศเอเชีย-ยุโรป (อาเซม)
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- APEC - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- เอเปค - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
- APEC STUDY CENTER - เว็บไซต์ไทยอย่างเป็นทางการ
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) | ||
เกาหลีใต้ · แคนาดา · จีน · ชิลี · ญี่ปุ่น · นิวซีแลนด์ · บรูไนดารุสซาลาม · ปาปัวนิวกินี · เปรู · ไทย · ฟิลิปปินส์ · |
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก เป็นบทความเกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้า ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น |