จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
ทั่วไป |
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข |
แบเรียม, Ba, 56 |
อนุกรมเคมี |
โลหะแอลคาไลน์เอิร์ธ |
หมู่, คาบ, บล็อก |
2, 6, s |
ลักษณะ |
สีขาวเงิน
|
มวลอะตอม |
137.327(7) กรัม/โมล |
การจัดเรียงอิเล็กตรอน |
[Xe] 6s2 |
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน |
2, 8, 18, 18, 8, 2 |
คุณสมบัติทางกายภาพ |
เฟส |
ของแข็ง |
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) |
3.51 ก./ซม.³ |
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. |
3.338 ก./ซม.³ |
จุดหลอมเหลว |
1000 K
(727 °C) |
จุดเดือด |
2170 K(1897 °C) |
ความร้อนของการหลอมเหลว |
7.12 กิโลจูล/โมล |
ความร้อนของการกลายเป็นไอ |
140.3 กิโลจูล/โมล |
ความร้อนจำเพาะ |
(25 °C) 28.07 J/(mol·K) |
ความดันไอ
P/Pa |
1 |
10 |
100 |
1 k |
10 k |
100 k |
ที่ T K |
911 |
1038 |
1185 |
1388 |
1686 |
2170 |
|
คุณสมบัติของอะตอม |
โครงสร้างผลึก |
cubic body centered |
สถานะออกซิไดเซชัน |
2
(ออกไซด์เป็นเบสแก่) |
อิเล็กโตรเนกาติวิตี |
0.89 (Pauling scale) |
พลังงานไอออไนเซชัน |
ระดับที่ 1: 502.9 กิโลจูล/โมล |
ระดับที่ 2: 965.2 กิโลจูล/โมล |
ระดับที่ 3: 3600 กิโลจูล/โมล |
รัศมีอะตอม |
215 pm |
รัศมีอะตอม (คำนวณ) |
253 pm |
รัศมีโควาเลนต์ |
198 pm |
อื่น ๆ |
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก |
paramagnetic |
ความต้านทานไฟฟ้า |
(20 °C) 332 nΩ·m |
การนำความร้อน |
(300 K) 18.4 W/(m·K) |
การขยายตัวจากความร้อน |
(25 °C) 20.6 µm/(m·K) |
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) |
(20 °C) 1620 m/s |
โมดูลัสของยังก์ |
13 GPa |
โมดูลัสของแรงเฉือน |
4.9 GPa |
โมดูลัสของแรงบีบอัด |
9.6 GPa |
ความแข็งโมห์ส |
1.25 |
เลขทะเบียน CAS |
7440-39-3 |
ไอโซโทปที่น่าสนใจ |
|
แหล่งอ้างอิง |
แบเรียม(อังกฤษ:Barium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 56 และสัญลักษณ์คือ Ba แบเรียมเป็นธาตุโลหะแอลคาไลน์เอิร์ธมีลักษณะเป็นสีเงินอ่อนนุ่มหลอมเหลวที่อุณหภูมิสูงมาก อ๊อกไซด์ของมันเรียกแบริตา(baryta) ตามธรรมชาติพบในแร่แบไรต์ไม่พบในสภาพบริสุทธิ์เพราะไวต่ปฏิกิริยาเคมีกับอากาศ สารประกอบของแบเรียมใช้ทำสีและใช้ในการถ่ายภาพทางการแพทย์
ข้อมูลเกี่ยวกับ แบเรียม ในภาษาอื่น สามารถหาอ่านได้จากเมนู ภาษาอื่น ๆ ด้านซ้ายมือ