เพรซีโอดิเมียม
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
||||||||||||||||||||||||||||
ทั่วไป | ||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข | เพรซีโอดิเมียมใน, Pr, 59 | |||||||||||||||||||||||||||
อนุกรมเคมี | แลนทาไนด์ | |||||||||||||||||||||||||||
หมู่, คาบ, บล็อก | ?, 6, f | |||||||||||||||||||||||||||
ลักษณะ | สีขาวเงิน, ออกเหลือง |
|||||||||||||||||||||||||||
มวลอะตอม | 140.90765(2) กรัม/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Xe] 4f3 6s2 | |||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน | 2, 8, 18, 21, 8, 2 | |||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติทางกายภาพ | ||||||||||||||||||||||||||||
เฟส | ของแข็ง | |||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 6.77 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. | 6.50 ก./ซม.³ | |||||||||||||||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1208 K (935 °C) |
|||||||||||||||||||||||||||
จุดเดือด | 3793 K(3520 °C) | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการหลอมเหลว | 6.89 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนของการกลายเป็นไอ | 331 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ความร้อนจำเพาะ | (25 °C) 27.20 J/(mol·K) | |||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
คุณสมบัติของอะตอม | ||||||||||||||||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | hexagonal | |||||||||||||||||||||||||||
สถานะออกซิไดเซชัน | 3 (ออกไซด์เป็นเบสปานกลาง) |
|||||||||||||||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาติวิตี | 1.13 (Pauling scale) | |||||||||||||||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม) |
ระดับที่ 1: 527 กิโลจูล/โมล | |||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 2: 1020 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||
ระดับที่ 3: 2086 กิโลจูล/โมล | ||||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม | 185 pm | |||||||||||||||||||||||||||
รัศมีอะตอม (คำนวณ) | 247 pm | |||||||||||||||||||||||||||
อื่น ๆ | ||||||||||||||||||||||||||||
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก | no data | |||||||||||||||||||||||||||
ความต้านทานไฟฟ้า | (r.t.) (α, poly) 0.700 µΩ·m |
|||||||||||||||||||||||||||
การนำความร้อน | (300 K) 12.5 W/(m·K) | |||||||||||||||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | (r.t.) (α, poly) 6.7 µm/(m·K) |
|||||||||||||||||||||||||||
ความเร็วเสียง (ท่อนบาง) | (20 °C) 2280 m/s | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของยังก์ | (α form) 37.3 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | (α form) 14.8 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
โมดูลัสของแรงบีบอัด | (α form) 28.8 GPa | |||||||||||||||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซอง | (α form) 0.281 | |||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งวิกเกอร์ส | 400 MPa | |||||||||||||||||||||||||||
ความแข็งบริเนล | 481 MPa | |||||||||||||||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-10-0 | |||||||||||||||||||||||||||
ไอโซโทปที่น่าสนใจ | ||||||||||||||||||||||||||||
|
||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งอ้างอิง |
เพรซีโอดิเมียม(อังกฤษ:Praseodymium) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 59 และสัญลักษณ์คือ Pr เพรซีโอดิเมียมเป็นธาตุเป็นธาตุโลหะลักษณะเงินอยู่ในกลุ่มแลนทาไนด์(lanthanide group) เพรซีโอดิเมียมทนต่อการกัดกร่อนในอากาศได้ดีกว่ายูโรเพียม(europium) แลนทานัม(lanthanum) ซีเรียม(cerium)และนีโอดิเมียม(neodymium) แต่เมื่อถูกกับอากาศมันจะกลายเป็นอ๊อกไซด์สีเขียวเคลือบที่ผิวของโลหะ ด้วยเหตุนี้จึงต้องเก็บรักษาเพรซีโอดิเมียมในน้ำมันแร่หรือเคลือบด้วยพลาสติกหรือแก้ว
[แก้] สารประกอบ
สารประกอบเพรซีโอดิเมียมมีดังนี้:
- Fluorides
- PrF2
- PrF3
- PrF4
- Chlorides
- PrCl3
- Bromides
- PrBr3
- Pr2Br5
- Iodides
- PrI2
- PrI3
- Pr2I5
- Oxides
- PrO2
- Pr2O3
- Sulfides
- PrS
- Pr2S3
- Selenides
- PrSe
- Tellurides
- PrTe
- Pr2Te3
- Nitrides
- PrN
เพรซีโอดิเมียม เป็นบทความเกี่ยวกับ เคมี ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น |