เครื่องหมายวรรคตอน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เครื่องหมายวรรคตอน |
---|
จุดไข่ปลา ( … ) ( ... ) |
การแบ่งวรรคตอน |
เว้นวรรค ( ) ( ) ( ) |
เครื่องหมายวรรคตอนไทย |
โคมูตร ( ๛ ) |
เครื่องหมายอื่น ๆ |
ขีดตั้ง/ไพป์ ( | ) |
เครื่องหมายวรรคตอน เป็นเครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ประกอบการเขียนอักษรในภาษาหนึ่งๆ เพื่อประโยชน์ในการแบ่งวรรคตอน มักจะไม่เกี่ยวกับระบบเสียงใดๆ ทั้งสิ้น
ในแต่ละภาษาจะมีเครื่องหมายวรรคตอนต่างๆ กัน และมีกฎเกณฑ์การใช้ต่างๆ กัน ซึ่งผู้ใช้ภาษานั้นๆ จะต้องทราบ และใช้ตามกฎที่ปฏิบัติกันมา เพื่อให้มีความเข้าใจในภาษาไปในทางเดียวกัน
[แก้] เครื่องหมายวรรคตอนของไทย
ในเอกสารโบราณของไทยมีเครื่องหมายวรรคตอนของไทยอยู่หลายตัว และบางตัวนิยมใช้มาถึงปัจจุบัน โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
- เครื่องหมายกำกับเสียง ได้แก่
- เครื่องหมายกำกับวรรคตอน ได้แก่
- ไปยาลน้อย : ใช้ย่อคำ
- ไปยาลใหญ่ : ใช้ละข้อความ
- ฟองมัน : ใช้ขึ้นต้นประโยค หรือบทกลอน
- ฟองมันฟันหนู : ใช้ขึ้นต้นข้อความ
- อังคั่นเดี่ยว (ขั้นเดี่ยว): ใช้เขียนเมื่อจบประโยค หรือเป็นเครื่องหมายบอกวันเดือนทางจันทรคติ
- อังคั่นคู่ (ขั้นคู่) : ใช้เขียนเมื่อจบข้อความใหญ่ หรือจบตอน
- อังคั่นวิสรรชนีย์ : ใช้เขียนเมื่อจบเรื่อง
- โคมูตร : ใช้เมื่อสิ้นสุดข้อความ หรือบทกลอน
เครื่องหมายวรรคตอน เป็นบทความเกี่ยวกับ ภาษา หรือ ตัวอักษร ที่ยังไม่สมบูรณ์ ต้องการตรวจสอบ เพิ่มเนื้อหา หรือเพิ่มแหล่งอ้างอิง คุณสามารถช่วยเพิ่มเติมหรือแก้ไข เพื่อให้สมบูรณ์มากขึ้น |