พิษวิทยา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พิษวิทยา (อังกฤษ:Toxicology มาจากคำว่า toxicon และ logosในภาษากรีก) เป็นการศึกษาอาการ กลไกการรักษา และการตรวจสอบความเป็นพิษทางชีววิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเป็นพิษกับคน หัวข้อหลักของความเป็นพิษของสารเคมีคือปริมาณของการได้รับสาร(dose) มันจะเป็นการปลอดภัยอย่างยิ่งถ้าจะบอกว่าสารเคมีทั้งหมดเป็นพิษ ดังคำที่พาราเซลซัส(Paracelsus) บิดาแห่งวิชาพิษวิทยากล่าวว่า"ปริมาณเป็นตัวกำหนดพิษของสารเคมี" พาราเซลซัสมีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษที่16เป็นคนแรกที่อธิบายความสัมพันธ์ของปริมาณและชนิดของสารเคมีที่เป็นพิษ สารเคมีหลายตัวเป็นพิษทางอ้อมเช่น เมตทานอล (methanol) หรือ แอลกอฮอลไม้("wood alcohol") เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นสารพิษ ฟอร์มาดิไฮด์ (formaldehyde) ที่ ตับ (liver) ยา หลายตัวก็เป็นพิษที่ตับ แบบเดียวกันนี้เช่น พาราเซตามอล (paracetamol)
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- A Small Dose of Toxicology
- Agency for Toxic Substances and Disease Registry (ATSDR)
- Case Studies in Environmental Medicine
- ToxFAQs?
- Public Health Statements (PHSs)
- Toxicological Profiles
- Minimal Risk Levels (MRLs) for Hazardous Substances
- Medical Management Guidelines (MMGs)for Acute Chemical Exposures
- Managing Hazardous Material Incidents
- Interaction Profiles for Toxic Substances
- CERCLA Priority List of Hazardous Substances
- A Toxicology Curriculum for Communities
- Society of Toxicology
- American College of Toxicology
- hazard.com Toxicity and hazard data on industrial chemicals
- International Conference on Harmonisation
[แก้] ลิงค์เกี่ยวข้อง
- In vitro toxicology
- Pollution
- Toxicity
- Important publications in toxicology
|
คณะเภสัชศาสตร์ในประเทศไทย แก้ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
|