ไบโอแอลกอฮอล์
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไบโอแอลกอฮอล์ (Bioalcohol) เป็น แอลกอฮอล์ ที่ได้จากแหล่งชีวภาพไม่ใช่จาก ปิโตรเลียม ตัวอย่างเช่น เมทานอล และ เอทานอล มันถูกใช้เป็นส่วนผสมของ เชื้อเพลิงชีวภาพ (biofuel) กับน้ำมันปิโตรเลียมเพื่อใช้กับรถยนต์รุ่นใหม่ ๆ ที่พัฒนาจนสามารถใช้แอลกอฮอล์ล้วน ๆ เป็นเชื้อเพลิงได้ซึ่งเรียกว่า BA100 (หรือไบโอแอลกอฮอล์ 100%)
เอทานอลโดยทั่วไปในประเทศไทยผลิตจากอ้อยและมันสำปะหลัง แต่ในสหรัฐอเมริกาผลิตจากข้าวโพด ปัจจุบันในประเทศไทย ไบโอแอลกอฮอล์ 10 % หรือ BA10 ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายโดยมีชื่อเรียกว่า แก๊ซโซฮอล (ในสหรัฐอเมริกา จะใช้ E แทน BA เช่น E85 หมายถึงแก๊ซโซฮอลที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์สูงถึง 85%) มันถูกใช้แทน MTBE ซึ่งเป็นสารเพิ่มออกเทนในน้ำมันปิโตรปิเลียม (chemical oxygenate)
โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ได้พัฒนาโรงงานต้นแบบสำหรับผลิตไบโอเอทานอลจากกากน้ำตาล[1] และได้ทำการทดลองและวิจัยจนมีข้อมูลทางด้านเทคนิคอย่างครบด้าน เมื่อ 19 ก.ย. 2543 รัฐบาลจึงได้นำเอาแนวพระราชดำรินี้เป้นแนวทางสำหรับการพัฒนาโครงการเอทานอลขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร[2]
[แก้] ดูเพิ่ม
- Biofuel
- Alcohol fuel
[แก้] อ้างอิง
การพัฒนาและความยั่งยืนของพลังงาน แก้ไข | |
---|---|
การผลิตพลังงาน (Energy production) | แอคตีฟโซลาร์ | ไบโอแอลกอฮอล์ | ไบโอดีเซล | เชื้อเพลิงชีวภาพ | ก๊าซชีวภาพ | ชีวมวล | ดีปเลควอเตอร์คูลลิ่ง | การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า | การผลิตไฟฟ้า | เชื้อเพลิงเอทานอล | เซลล์เชื้อเพลิง | พลังงานฟิวชัน | พลังงานความร้อนใต้พิภพ | ไฟฟ้าพลังน้ำ | เชื้อเพลิงเมทานอล | การแปลงพลังงานความร้อนของมหาสมุทร | พาสซีฟโซลาร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | โซลาร์ชิมเนย์ | แผงเซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ | โซลาร์เทาเวอร์ | ไทดัลเพาเวอร์ | โทรมบ์วอลล์ | กังหันน้ำ | กังหันลม |
การพัฒนาพลังงาน (Energy development) |
การพัฒนาพลังงาน | สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า | การพัฒนาพลังงานในอนาคต | เศรษฐศาสตร์ไฮโดรเจน | ฮับเบิรต์พีค | การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ | ความทันสมัยเกินไป | เทคโนโลยีเฉพาะตัว |
พลังงานและสถานภาพความยั่งยืน (Energy and sustainability status) |
สถานภาพปัจจุบันของมนุษยชาติ | ระบบนิเวศบริการ | การ์ดาเชฟสเกล | TPE | ดรรชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ | คุณค่าของโลก | เทคโนโลยีระหว่างกลาง | ทุนโครงสร้างพื้นฐาน |
ความยั่งยืน (Sustainability) |
อาคารอัตโนมัติ | ป่านิเวศ | นิเวศเศรษฐศาสตร์ | การคุ้มครองโลก | เศรษฐศาสตร์พัฒนา | การออกแบบสิ่งแวดล้อม | การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติ | อาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม | ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น | อาคารธรรมชาติ | เกษตรถาวร | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ | Straw-bale construction | ความยั่งยืน | เกษตรยั่งยืน | การออกแบบอย่างยั่งยืน | การพัฒนาที่ยั่งยืน | อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน | ชีวิตที่ยั่งยืน | The Natural Step |
การจัดการความยั่งยืน (Sustainability management) |
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | ทฤษฎีพัฒนามนุษย์ | การพัฒนาที่ผิดพลาด | ปฏิญญาริโอเรื่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา | สถาบันร๊อคกีเมาน์เทน | ซิมวันเดอร์ริน | ด้อยพัฒนา | สภาธุรกิจโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน | การประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน | หลักการการใช้มาตรการระวังล่วงหน้า | Intermediate Technology Development Group |
พลังงานและการอนุรักษ์ (Energy and conservation) |
การอนุรักษ์พลังงาน | Energy-efficient landscaping | รถยนต์ไฟฟ้า | รถยนต์ไฮโดรเจน | การใช้ชีวิตเรียบง่ายแบบสมัครใจ | การวัดรอยเท้าทางนิเวศ | พื้นที่การท่องเที่ยวที่ผสมผสานในแบบอนุรักษ์ | ของเสีย |