ก๊าซชีวภาพ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ก๊าซชีวภาพ (Biogas หรือ digester gas) โดยทั่วไปจะหมายถึง ก๊าซ มีเทน ที่เกิดจาก การหมัก (fermentation) ของ อินทรีย์วัตถุ ประกอบด้วย ปุ๋ยคอก โคลนจากน้ำเสีย ขยะประเภทของแข็งจากเมือง หรือ ของเสียชีวภาพจากอาหารสัตว์ภายใต้สภาวะ ไม่มีออกซิเจน (anaerobic) ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ ก๊าซหนองน้ำ และ มาร์ซก๊าซ(marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน ของเสีย ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็นกระแสไฟฟ้า นอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย เชื้อโรค ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น การบริหารจัดการของเสีย ที่ควรได้ รับการสนับสนุนเพราะมันไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ ปรากฏการณ์เรือนกระจก(greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ของ ก๊าซชีวภาพ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทนจะสะอาดกว่า
[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
- Biogas Fuel Cell Project AMONCO
- Biogas Fuel Cell RTD Profactor
- Environmental Costs Biogas Fuel Cycle EXTERNE
- Biogas Biofuel Stockholm
- Biogas Biofuel Lille
- Biogas as fuel Trendsetter Project
- Anaerobic Digestion—Biogas Plant Applications
- Human Feces Powers Rwandan Prison
[แก้] อ้างอิง
- "Friendly fuel trains". (Oct. 30, 2005). New Straits Times, p. F17.
การพัฒนาและความยั่งยืนของพลังงาน แก้ไข | |
---|---|
การผลิตพลังงาน (Energy production) | แอคตีฟโซลาร์ | ไบโอแอลกอฮอล์ | ไบโอดีเซล | เชื้อเพลิงชีวภาพ | ก๊าซชีวภาพ | ชีวมวล | ดีปเลควอเตอร์คูลลิ่ง | การผลิตและจำหน่ายไฟฟ้า | การผลิตไฟฟ้า | เชื้อเพลิงเอทานอล | เซลล์เชื้อเพลิง | พลังงานฟิวชัน | พลังงานความร้อนใต้พิภพ | ไฟฟ้าพลังน้ำ | เชื้อเพลิงเมทานอล | การแปลงพลังงานความร้อนของมหาสมุทร | พาสซีฟโซลาร์ | เซลล์แสงอาทิตย์ | โซลาร์ชิมเนย์ | แผงเซลล์แสงอาทิตย์ | พลังงานแสงอาทิตย์ | พลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ | โซลาร์เทาเวอร์ | ไทดัลเพาเวอร์ | โทรมบ์วอลล์ | กังหันน้ำ | กังหันลม |
การพัฒนาพลังงาน (Energy development) |
การพัฒนาพลังงาน | สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้า | การพัฒนาพลังงานในอนาคต | เศรษฐศาสตร์ไฮโดรเจน | ฮับเบิรต์พีค | การนำพลังงานกลับมาใช้ใหม่ | ความทันสมัยเกินไป | เทคโนโลยีเฉพาะตัว |
พลังงานและสถานภาพความยั่งยืน (Energy and sustainability status) |
สถานภาพปัจจุบันของมนุษยชาติ | ระบบนิเวศบริการ | การ์ดาเชฟสเกล | TPE | ดรรชนีการพัฒนามนุษย์ของสหประชาชาติ | คุณค่าของโลก | เทคโนโลยีระหว่างกลาง | ทุนโครงสร้างพื้นฐาน |
ความยั่งยืน (Sustainability) |
อาคารอัตโนมัติ | ป่านิเวศ | นิเวศเศรษฐศาสตร์ | การคุ้มครองโลก | เศรษฐศาสตร์พัฒนา | การออกแบบสิ่งแวดล้อม | การแสวงหาประโยชน์จากทรัพยกรธรรมชาติ | อาคารเพื่อสิ่งแวดล้อม | ผลิตภัณฑ์ในประเทศเบื้องต้น | อาคารธรรมชาติ | เกษตรถาวร | การพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ | Straw-bale construction | ความยั่งยืน | เกษตรยั่งยืน | การออกแบบอย่างยั่งยืน | การพัฒนาที่ยั่งยืน | อุตสาหกรรมที่ยั่งยืน | ชีวิตที่ยั่งยืน | The Natural Step |
การจัดการความยั่งยืน (Sustainability management) |
คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน | ทฤษฎีพัฒนามนุษย์ | การพัฒนาที่ผิดพลาด | ปฏิญญาริโอเรื่อสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา | สถาบันร๊อคกีเมาน์เทน | ซิมวันเดอร์ริน | ด้อยพัฒนา | สภาธุรกิจโลกสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน | การประชุมสุดยอดของโลกว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืน | หลักการการใช้มาตรการระวังล่วงหน้า | Intermediate Technology Development Group |
พลังงานและการอนุรักษ์ (Energy and conservation) |
การอนุรักษ์พลังงาน | Energy-efficient landscaping | รถยนต์ไฟฟ้า | รถยนต์ไฮโดรเจน | การใช้ชีวิตเรียบง่ายแบบสมัครใจ | การวัดรอยเท้าทางนิเวศ | พื้นที่การท่องเที่ยวที่ผสมผสานในแบบอนุรักษ์ | ของเสีย |