พุทธกาล
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ส่วนหนึ่งของ ประวัติพุทธศาสนา |
|
จุดมุ่งหมายของพุทธศาสนา | |
เพื่อความดับทุกข์ · นิพพาน |
|
ใจความสำคัญของพุทธศาสนา | |
สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่นถือมั่น |
|
ไตรสรณะ | |
ความเชื่อและการปฏิบัติ | |
ศีล · ธรรม ศีลห้า · ศีลแปด บทสวดมนต์และพระคาถา |
|
คัมภีร์และหนังสือ | |
พระไตรปิฎก พระวินัยปิฎก · พระสุตตันตปิฎก · พระอภิธรรมปิฎก |
|
นิกาย | |
เถรวาท · อาจริยวาท (มหายาน) · วัชรยาน · เซน | |
สังคมพุทธศาสนา | |
เมือง · ปฏิทิน · บุคคล · วันสำคัญ · ศาสนสถาน · วัตถุมงคล | |
ดูเพิ่มเติม | |
ศัพท์เกี่ยวกับพุทธศาสนา หมวดหมู่พุทธศาสนา |
พุทธกาล หมายถึงช่วงเวลาที่พระพุทธเจ้ายังมีพระชนม์อยู่ ต่างจากภาษาปากที่หมายถึงช่วงเวลาที่เชื่อกันว่าศาสนาพุทธจะดำรงอยู่ 5,000 ปีหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว
ปี พ.ศ. 2500 ซึ่งนับเป็นปีสำคัญเพราะถึงกึ่งพุทธกาล ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นดินแดนแห่งพุทธศาสนา รัฐบาลสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรีจึงมีดำริจัดสร้างพุทธมณฑลขึ้นในวาระนั้น
[แก้] เอกสารอ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, หน้า 795