Ebooks, Audobooks and Classical Music from Liber Liber
a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z





Web - Amazon

We provide Linux to the World


We support WINRAR [What is this] - [Download .exe file(s) for Windows]

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
SITEMAP
Audiobooks by Valerio Di Stefano: Single Download - Complete Download [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Alphabetical Download  [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Download Instructions

Make a donation: IBAN: IT36M0708677020000000008016 - BIC/SWIFT:  ICRAITRRU60 - VALERIO DI STEFANO or
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
คอมพิวเตอร์โอลิมปิก - วิกิพีเดีย

คอมพิวเตอร์โอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Olympiad in Informatics - IOI) เป็นการแข่งขันเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำปี เป็นหนึ่งในการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา คอมพิวเตอร์โอลิมปิกครั้งแรกเริ่มต้นในปี พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989)

การแข่งขันประกอบด้วยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สองวัน เป็นการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึมต่างๆ ผู้เข้าแข่งขันจะแข่งเป็นทีม ทีมละไม่เกิน 4 คนจากแต่ละประเทศ แต่การแข่งขันจะเป็นการแข่งเดี่ยว มีผู้เข้าแข่งขันจาก 81 ประเทศเมื่อปี พ.ศ. 2547 นักเรียนที่เข้าแข่งขันจะมาจากการแข่งขันการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายในประเทศ เพื่อเป็นตัวแทนประเทศนั้นๆ

[แก้] รูปแบบการแข่งขัน

การแข่งขันมีทั้งสิ้นสองวัน ในแต่ละวันนักเรียนแต่ละคนมักจะได้รับโจทย์ 3 ข้อ และมีเวลาสำหรับแก้ปัญหา 5 ชั่วโมง ผู้เข้าแข่งขันจะต้องแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง โดยมีคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง และไม่มีการช่วยเหลืออื่นใด เช่น การสื่อสารกับผู้แข่งขันคนอื่น การสื่อสารกับบุคคลภายนอก หนังสือ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยปกตินักเรียนจะต้องแก้ปัญหาโดยการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย ภาษาซี, ภาษาซีพลัสพลัส หรือ ภาษาปาสกาล และส่งภายในเวลา 5 ชั่วโมงของการแข่งขัน หลังจากนั้นจะมีการตรวจโปรแกรมที่ส่งมาด้วยชุดข้อมูลทดสอบอันเป็นความลับ ซึ่งมีข้อมูลทดสอบจำนวนหนึ่ง (ปกติจะเป็น 10 หรือ 20 ข้อ) ผู้เข้าแข่งขันจะได้คะแนนสำหรับชุดทดสอบที่โปรแกรมทำงานถูกต้อง ภายในเวลาที่กำหนด และไม่ใช้หน่วยความจำเกินกำหนด โจทย์บางข้ออาจมีการตอบโต้ระหว่างโปรแกรมและไลบรารีหนึ่งซึ่งเป็นความลับ ทำให้ข้อมูลนำเข้ามีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการตอบโต้ของโปรแกรม เช่นโจทย์เขียนโปรแกรมให้เล่นเกมให้ชนะ นอกจากนี้ยังมีปัญหาอีกชนิดหนึ่งซึ่งเปิดเผยชุดข้อมูลทดสอบให้กับนักเรียนระหว่างการแข่งขัน นักเรียนจะต้องแก้ปัญหาสำหรับข้อมูลทดสอบชุดนี้ และส่งคำตอบเท่านั้นโดยไม่ต้องส่งโปรแกรม ซึ่งนักเรียนอาจใช้การเขียนโปรแกรมแก้ปัญหา อาจทำด้วยมือ หรืออาจใช้การผสมผสานของสองอย่างนี้ก็ได้

คะแนนจากการแข่งขันทั้งสองวันจะนำมารวมกันสำหรับแต่ละคน จะมีการมอบเหรียญรางวัลหลังการแข่งขันจบ เหรียญรางวัลที่ได้ขึ้นอยู่กับคะแนนที่แต่ละคนทำได้ ผู้เข้าแข่งขันประมาณ 50% จะได้รับเหรียญรางวัล โดยมีอัตราส่วนของ เหรียญทอง:เหรียญเงิน:เหรียญทองแดง:ไม่ได้เหรียญรางวัล เป็น 1:2:3:6 (นั่นคือผู้เข้าแข่งขันหนึ่งในสิบสอง จะได้เหรียญทอง)

[แก้] รายชื่อประเทศเจ้าภาพการแข่งขันคอมพิวเตอร์โอลิมปิก

IOI ประเทศเจ้าภาพ วันที่ เว็บไซต์
IOI 2010 ประเทศแคนาดา พ.ศ. 2553
IOI 2009 ประเทศบัลแกเรีย พ.ศ. 2552
IOI 2008 ประเทศอียิปต์ พ.ศ. 2551
IOI 2007 ประเทศโครเอเชีย พ.ศ. 2550
IOI 2006 เมอริด้า ประเทศเม็กซิโก 19 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2549
IOI 2005 โนวีซาด ประเทศโปแลนด์ 18 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เว็บไซต์
IOI 2004 เอเธนส์ ประเทศกรีซ 11 - 18 กันยายน พ.ศ. 2547 เว็บไซต์
IOI 2003 คีโนชา รัฐวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา 16 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2546 เว็บไซต์
IOI 2002 ยองอิน ประเทศเกาหลีใต้ 18 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เว็บไซต์
IOI 2001 แตมเปเร่ ประเทศฟินแลนด์ 14 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 เว็บไซต์
IOI 2000 ปักกิ่ง ประเทศจีน 23 - 30 กันยายน พ.ศ. 2543 เว็บไซต์
IOI 1999 Antalya ประเทศตุรกี 9 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เว็บไซต์
IOI 1998 Setúbal ประเทศโปรตุเกส 5 - 12 กันยายน พ.ศ. 2541
IOI 1997 เคปทาวน์ ประเทศแอฟริกาใต้ 30 พฤศจิกายน - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2540
IOI 1996 Veszprém ประเทศฮังการี 25 กรกฎาคม - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2539
IOI 1995 แองโทเฟิน ประเทศเนเธอร์แลนด์ 26 มิถุนายน - 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 เว็บไซต์
IOI 1994 Haninge ประเทศสวีเดน 3 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2537
IOI 1993 เมนโดซา ประเทศอาร์เจนตินา 16 - 25 ตุลาคม พ.ศ. 2536 เว็บไซต์
IOI 1992 บอนน์ ประเทศเยอรมนี 11 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2535
IOI 1991 เอเธนส์ ประเทศกรีซ 19 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2534
IOI 1990 มิสก์ เบลารุส สหภาพโซเวียต 15 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2533
IOI 1989 Pravets ประเทศบัลแกเรีย 16 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2532

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น


โอลิมปิกวิชาการ
คณิตศาสตร์โอลิมปิก | คอมพิวเตอร์โอลิมปิก | เคมีโอลิมปิก | ชีววิทยาโอลิมปิก | ดาราศาสตร์โอลิมปิก | ฟิสิกส์โอลิมปิก
Our "Network":

Project Gutenberg
https://gutenberg.classicistranieri.com

Encyclopaedia Britannica 1911
https://encyclopaediabritannica.classicistranieri.com

Librivox Audiobooks
https://librivox.classicistranieri.com

Linux Distributions
https://old.classicistranieri.com

Magnatune (MP3 Music)
https://magnatune.classicistranieri.com

Static Wikipedia (June 2008)
https://wikipedia.classicistranieri.com

Static Wikipedia (March 2008)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com/mar2008/

Static Wikipedia (2007)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com

Static Wikipedia (2006)
https://wikipedia2006.classicistranieri.com

Liber Liber
https://liberliber.classicistranieri.com

ZIM Files for Kiwix
https://zim.classicistranieri.com


Other Websites:

Bach - Goldberg Variations
https://www.goldbergvariations.org

Lazarillo de Tormes
https://www.lazarillodetormes.org

Madame Bovary
https://www.madamebovary.org

Il Fu Mattia Pascal
https://www.mattiapascal.it

The Voice in the Desert
https://www.thevoiceinthedesert.org

Confessione d'un amore fascista
https://www.amorefascista.it

Malinverno
https://www.malinverno.org

Debito formativo
https://www.debitoformativo.it

Adina Spire
https://www.adinaspire.com