Ebooks, Audobooks and Classical Music from Liber Liber
a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z





Web - Amazon

We provide Linux to the World


We support WINRAR [What is this] - [Download .exe file(s) for Windows]

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
SITEMAP
Audiobooks by Valerio Di Stefano: Single Download - Complete Download [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Alphabetical Download  [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Download Instructions

Make a donation: IBAN: IT36M0708677020000000008016 - BIC/SWIFT:  ICRAITRRU60 - VALERIO DI STEFANO or
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
การเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี - วิกิพีเดีย

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บทความนี้ต้องการ ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขรูปแบบหรือภาษา ในหลายส่วนด้วยกัน
คุณสามารถช่วยตรวจสอบ และแก้ไขบทความนี้ได้ด้วยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน
กรุณาเปลี่ยนไปใช้ป้ายข้อความอื่น เพื่อระบุสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ หรือแก้ไข
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ วิธีการแก้ไขหน้าพื้นฐาน คู่มือการเขียน และ นโยบายวิกิพีเดีย และเมื่อแก้ไขตามนโยบายแล้ว สามารถนำป้ายนี้ออกได้

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาบาลี สำหรับใช้ในการเขียนอักษรไทยนั้นมีระบบที่ค่อนข้างชัดเจน อาจมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเรื่อยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2549) ราชบัณฑิตยสถานยังไม่ได้วางหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาบาลี แต่ในบรรดาชาวไทยที่รู้ภาษาบาลี จะยึดธรรมเนียมการทับศัพท์ที่สืบทอดต่อๆ กันมา จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นมาตรฐานไปแล้ว

สารบัญ

[แก้] การทับศัพท์ภาษาบาลี

การทับศัพท์ภาษาบาลีด้วยอักษรไทยนั้น อาจแตกต่างจากการทับศัพท์ภาษาอื่นๆ เนื่องจากภาษาบาลีไม่มีอักษรเฉพาะ ดังนั้น การทับศัพท์ด้วยอักษรไทย จึงไม่อาจระบุได้ว่าทับศัพท์จากอักษรต้นแบบชนิดใด แต่ยึดถือจากเสียงเดิมเป็นหลัก โดยมีแบบแผนดังนี้

[แก้] พยัญชนะ

(พยัญชนะเดี่ยวๆ เมื่อไม่มีสระมาประสม ถือว่าไม่มีเสียง จะเขียนจุดใต้ตัวอักษรนั้น แต่เพื่อความสะดวกในการเขียนอ่าน ในที่นี้จึงไม่ใส่จุด)

วรรค ก : ก ข ค ฆ ง
วรรค จ : จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฏ : ฏฺ ฐ ฑ ฒ ณ
วรรค ต : ต ถ ท ธ น
วรรค ป : ป ผ พ ภ ม
อวรรค  : ย ร ล ว ส ห ฬ อํ

หมายเหตุ, ในการเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย ไม่นิยมเขียนเชิงของพยัญชนะ ญ และ ฐ

[แก้] สระ

อ อา
อิ อี
อุ อู
เอ โอ

[แก้] เครื่องหมาย

เครื่องหมายอื่นๆ ที่ใช้ในการทับศัพท์ภาษาบาลีได้แก่

  • จุด ใต้ตัวพยัญชนะ เมื่อพยัญชนะนั้นเป็นตัวสะกด หรือกล้ำเสียง เช่น จกฺก (อ่านว่า จัก-กะ)
  • นิคหิต คือ วงกลมเล็กๆ เหนือพยัญชนะ เพื่อให้ออกเสียงเหมือนมี งฺ สะกด เช่น ตฺวํ (อ่านว่า ตวัง), พุทฺธํ (อ่านว่า พุท-ธัง)

[แก้] การทับศัพท์จากอักษรโรมัน

สำหรับภาษาบาลีที่เขียนด้วยอักษรโรมัน มีธรรมเนียมการทับศัพท์ ดังนี้

[แก้] พยัญชนะ

k kh g gh ng
c ch j jh ñ
t th d dh n
t th d dh n
p ph b bh m
y r l v s h

[แก้] สระ

a ā
i ī
u ū
e o

[แก้] ดูเพิ่มเติม

Our "Network":

Project Gutenberg
https://gutenberg.classicistranieri.com

Encyclopaedia Britannica 1911
https://encyclopaediabritannica.classicistranieri.com

Librivox Audiobooks
https://librivox.classicistranieri.com

Linux Distributions
https://old.classicistranieri.com

Magnatune (MP3 Music)
https://magnatune.classicistranieri.com

Static Wikipedia (June 2008)
https://wikipedia.classicistranieri.com

Static Wikipedia (March 2008)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com/mar2008/

Static Wikipedia (2007)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com

Static Wikipedia (2006)
https://wikipedia2006.classicistranieri.com

Liber Liber
https://liberliber.classicistranieri.com

ZIM Files for Kiwix
https://zim.classicistranieri.com


Other Websites:

Bach - Goldberg Variations
https://www.goldbergvariations.org

Lazarillo de Tormes
https://www.lazarillodetormes.org

Madame Bovary
https://www.madamebovary.org

Il Fu Mattia Pascal
https://www.mattiapascal.it

The Voice in the Desert
https://www.thevoiceinthedesert.org

Confessione d'un amore fascista
https://www.amorefascista.it

Malinverno
https://www.malinverno.org

Debito formativo
https://www.debitoformativo.it

Adina Spire
https://www.adinaspire.com