Ebooks, Audobooks and Classical Music from Liber Liber
a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z





Web - Amazon

We provide Linux to the World


We support WINRAR [What is this] - [Download .exe file(s) for Windows]

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
SITEMAP
Audiobooks by Valerio Di Stefano: Single Download - Complete Download [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Alphabetical Download  [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Download Instructions

Make a donation: IBAN: IT36M0708677020000000008016 - BIC/SWIFT:  ICRAITRRU60 - VALERIO DI STEFANO or
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
วัดจามเทวี - วิกิพีเดีย

วัดจามเทวี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สถานีย่อย:ประเทศไทย


วัดจามเทวี
ภาพวัดจามเทวี
เจดีย์จามเทวีและวิหาร
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อสามัญ วัดจามเทวี
ประเภท วัดราษฎร์
นิกาย เถรวาท
ความพิเศษ
พระประธาน
พระพุทธรูปสำคัญ
ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว
ที่ตั้ง [[]] [[]] [[]] จังหวัดลำพูน
โทรศัพท์ (+66)
รถประจำทาง
เรือ
รถไฟ/รถไฟฟ้า
เวลาทำการ
ค่าธรรมเนียมเข้าชม ไม่เสียค่าเข้าชม
จุดที่น่าสนใจ เจดีย์กู่กุด
กิจกรรม
มักคุเทศก์
อาหารและเครื่องดื่ม ชุมชนรอบวัด
ข้อห้าม
การถ่ายภาพ
ที่จอดรถ ริมถนนบริเวณไกล้เคียงวัด
สถานที่ไกล้เคียง วัดพระธาตุหริภุญชัย
หมายเหตุ

วัดจามเทวี เดิมชื่อ วัดกู่กุด ถนนจามเทวี หมู่ 5 ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน เป็นวัดราษฎร์

พ.ศ.๑๒๙๘ พระนางจามเทวีนำช่างละโว้ (ปัจจุบันคือ จังหวัดลพบุรี)ไปสร้างพระเจดีย์สุวรรณจังโกฎ เป็นพระเจดีย์สี่เหลี่ยมแบบพุทธคยาในประเทศอินเดีย ทุกๆด้านมีพระพุทธรูปยืนปางประทานพรศิลปกรรมของลพบุรีมีพระพุทธรูปยืนอยู่ในซุ้มพระทั้งสี่ด้าน ด้านละ 15 องค์ รวม 60 องค์ ภายในบรรจุอัฐของพระนางจามเทวี

ภายในพระเจดีย์บรรจุอัฐิของพระนางจามเทวี เดิมมียอดพระเจดีย์หุ้มด้วยทองคำ ชาวบ้านเรียกชื่อวัดว่า "วัดกู่กุด"

๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๕ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมาร ได้เสด็จมาเปิดอนุสาวรีย์พระนางจามเทวี อยู่บริเวณสวนสาธารณะ หนองคอก สร้างเป็นอนุสรณ์แก่พระนางจามเทวี เป็นปฐมกกษัตริย์แห่งหริภุญชัย เป็นปราชญ์ที่มีคุณธรรม มีความสามารถ กล้าหาญ ได้นำพระพุทธศาสนาศิลปวัฒนธรรมมาเผยแพร่จนมีความรุ่งเรืองมาถึงปัจจุบัน

[แก้] ประวัติ

วัดกู่กุด ของพระนางจามเทวี ปัจจุบันคือเมืองลำพูนมาตั้งแต่สมัยพระนางจามเทวี

ปี พ.ศ. 1184 มีพระฤาษีไปพบทารกหญิง ถูกพญานกคาบมาทิ้งไว้บนใบบัวหลวง จึงและสอนสรรพวิทยาการต่างๆ ให้

เมื่อพระนางจามเทวี เจริญวัยได้ 13 พรรษา พระฤาษีจึงต่อนาวายนต์พร้อมด้วยฝูงวานรเป็นบริวารลอยล่องไปตามลำน้ำ ถึงยังท่าน้ำวัดชัยมงคล

เมื่อพระเจ้ากรุงละโว้ และพระมเหสีพบเห็น จึงได้นำกุมารีน้อยนั้นเข้าสู่พระราชวัง และตั้งให้เป็นพระราชธิดา นามว่า จามเทวีกุมารี และให้ศึกษาศิลปวิทยาการตำราพิชัยสงคราม และดนตรีทุกอย่าง

พ.ศ. 1198 พระนางจามเทวีมีพระชนม์ 14 พรรษา ได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าชายราม แห่งนครรามบุรี

พ.ศ. 1204 พระนามจามเทวีมีพระชนม์ 20 พรรษา เป็นกษัตรีย์วงศ์จามเทวีแห่งนครหริภุญชัย โดยพระนางเจ้าได้อัญเชิญพระแก้วขาว(พระเสตังคมมี) จากเมืองละโว้ เมื่อปี 700 ขึ้นมา เพื่อประดิษฐานเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง (ปัจจุบัน พระเสตังคมณีองค์นี้ยังประดิษฐานอยู่ที่วัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่)

พระนางจามเทวี มีพระโอรส 2 องค์ องค์พี่มีนามว่า “มหายศ” (มหันตยศ) องค์น้องมีนามว่า “อินทวร” (อนันตยศ)

พระเจ้ามหายศ ได้ขึ้นเสวยครองเมืองหริภุญชัยนคร แทนพระมารดา

องค์น้องพระเจ้าอินทวรไปครองเมืองเขลางค์นคร ที่มหาพรหมฤาษี และสุพรหมฤาษีร่วมกันสร้างขึ้นใหม่ให้พระองค์โดยเฉพาะ

ส่วนพระนางจามเทวีมีพระชนม์ได้ 60 พรรษา ได้สละราชสมบัติทุกอย่าง ให้พระโอรสทั้งสอง ออกบวชชี บำเพ็ญพรต อยู่ที่ วัดจามเทวี

พ.ศ. 1276 พระนางจามเทวีได้ปฏิบัติธรรมอยู่ในวัดแห่งนี้ พระชนม์ครบ 92 พรรษา พระนางจึงได้สิ้นพระชนม์ ซึ่งทางพระมหันตยศ และพระอนันตยศ 2 พระโอรสก็ได้จัดถวายพระเพลิงภายในวัดดังกล่าวอย่างสมพระเกียรติ และได้สร้างเจดีย์สี่เหลี่ยมบรรจุพระอัฐิของพระนางไว้ ณ ที่นี้ โดยให้ชื่อเจดีย์ว่า สุวรรณจังโกฏเจดีย์ ที่ได้เป็นต้นแบบของเจดีย์ในแถบล้านนา

ต่อมานานนับพันปี “สุวรรณจังโกฏเจดีย์” ชำรุดผุพัง ยอดพระเจดีย์ได้หัก และหายไป กลายเป็นวัดร้าง และชาวบ้านได้เรียกวัดนี้ว่า “วัดกู่กุด” (กู่กุด เป็นภาษาล้านนาแปลว่า เจดีย์ยอดด้วน)

พ.ศ. 2469 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้เสด็จเยี่ยมวัดแห่งนี้ จึงได้โปรดให้เปลี่ยนชื่อจาก วัดกู่กุด เป็น วัดจามเทวี เช่นเดิม

พ.ศ. 2479 เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ ผู้ครองนครลำพูนได้ไปนิมนต์ท่านครูบาศรีวิชัย ช่วยบูรณะวัดจามเทวีอีกครั้งหนึ่ง นับตั้งแต่นั้นมาวัดจามเทวี ก็เจริญรุ่งเรือง รูปแบบของสถาปัตยกรรมที่ปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนบนสุวรรณจังโกฏเจดีย์ ได้กลายเป็นโบราณสถานโบราณวัตถุที่ประประเมินค่าไม่ได้

พระพุทธรูปปางต่างๆ ในแต่ละชั้นของเจดีย์แสดงให้เห็นถึงความเลื่อมใสศรัทธา และการเข้าถึงพระพุทธศาสนาของพระนางจามเทวี

สุวรรณจังโกฏเจดีย์เป็นต้นแบบของเจดีย์ทั้งหลาย ซึ่งบางครั้งเรียกเจดีย์ทรงนี้ว่า เจดีย์ทรงขัตติยะนารี

[แก้] ความสำคัญ

มวลสารวัตถุจากโบราณสถาน และโบราณวัตถุในที่นี้ รัชกาลที่ ๙ ได้นำมาเป็นผงพระพิมพ์ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการทำพระสมเด็จจิตรลดา

[แก้] หนังสืออ้างอิง

Our "Network":

Project Gutenberg
https://gutenberg.classicistranieri.com

Encyclopaedia Britannica 1911
https://encyclopaediabritannica.classicistranieri.com

Librivox Audiobooks
https://librivox.classicistranieri.com

Linux Distributions
https://old.classicistranieri.com

Magnatune (MP3 Music)
https://magnatune.classicistranieri.com

Static Wikipedia (June 2008)
https://wikipedia.classicistranieri.com

Static Wikipedia (March 2008)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com/mar2008/

Static Wikipedia (2007)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com

Static Wikipedia (2006)
https://wikipedia2006.classicistranieri.com

Liber Liber
https://liberliber.classicistranieri.com

ZIM Files for Kiwix
https://zim.classicistranieri.com


Other Websites:

Bach - Goldberg Variations
https://www.goldbergvariations.org

Lazarillo de Tormes
https://www.lazarillodetormes.org

Madame Bovary
https://www.madamebovary.org

Il Fu Mattia Pascal
https://www.mattiapascal.it

The Voice in the Desert
https://www.thevoiceinthedesert.org

Confessione d'un amore fascista
https://www.amorefascista.it

Malinverno
https://www.malinverno.org

Debito formativo
https://www.debitoformativo.it

Adina Spire
https://www.adinaspire.com