Ebooks, Audobooks and Classical Music from Liber Liber
a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z





Web - Amazon

We provide Linux to the World


We support WINRAR [What is this] - [Download .exe file(s) for Windows]

CLASSICISTRANIERI HOME PAGE - YOUTUBE CHANNEL
SITEMAP
Audiobooks by Valerio Di Stefano: Single Download - Complete Download [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Alphabetical Download  [TAR] [WIM] [ZIP] [RAR] - Download Instructions

Make a donation: IBAN: IT36M0708677020000000008016 - BIC/SWIFT:  ICRAITRRU60 - VALERIO DI STEFANO or
Privacy Policy Cookie Policy Terms and Conditions
การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน - วิกิพีเดีย

การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน เป็นการเขียนคำทับศัพท์ระบบหนึ่งที่นิยมใช้มากที่สุดในประเทศไทย กำหนดและควบคุมโดยราชบัณฑิตยสถาน

สารบัญ

[แก้] การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน

  1. การทับศัพท์ให้ถอดอักษรในภาษาเดิม พอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ และให้เขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาษาไทย
  2. การวางหลักเกณฑ์ ได้แยกกำหนดหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ แต่ละภาษาไป
  3. คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นภาษาไทย และปรากฏใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แล้ว ให้ใช้ต่อไปตามเดิม
  4. คำวิสามานยนามที่ใช้กันมานานแล้ว อาจใช้ต่อไปตามเดิม
  5. ศัพท์วิชาการซึ่งใช้เฉพาะกลุ่ม ไม่ใช่ศัพท์ทั่วไป อาจเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ขึ้นตามความจำเป็น

[แก้] คำทับศัพท์ตามการสะกดของราชบัณฑิตยสถาน

รายการคำศัพท์ต่อไปนี้ เป็นตัวอย่างการสะกดคำทับศัพท์ตามราชบัณฑิตยสถาน ที่ได้รวบรวมจากการสะกดคำทับศัพท์ ในศัพท์บัญญัติสาขาต่าง ๆ ของทางราชบัณฑิตยสถาน เช่น ศัพท์คอมพิวเตอร์ ศัพท์พลังงาน ศัพท์ประชากรศาสตร์ ศัพท์ประกันภัย ศัพท์ปรับอากาศ ศัพท์เทคโนโลยีสารสนเทศ ศัพท์ยานยนต์ และศัพท์คณิตศาสตร์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังรวบรวมบางคำจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 อีกด้วย แต่อาจจะไม่ครบหรือครอบคลุมทั้งหมด เป็นเพียงบางส่วนที่พบเห็นบ่อย

บางคนอาจจะเห็นว่ามีหลาย ๆ คำ ที่เราใช้กันตามความเคยชิน และคิดว่าที่ถูกต้องควรจะเป็นอย่างนั้น เพราะคนส่วนใหญ่ใช้กัน ซึ่งถ้าเป็นดังนี้ ก็อาจจะทำให้รูปการสะกดคำทับศัพท์คำเดียวกัน มีหลายรูปแตกต่างกันไป ไม่เป็นไปในมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้น หากต้องการให้มีการใช้ภาษาไทยในเรื่องคำทับศัพท์มีรูปแบบมาตรฐานหรือถูกต้องตามเกณฑ์ที่ควรจะเป็น ก็อาจจะต้องลองปรับเปลี่ยนรูปของคำบางคำที่ใช้อยู่ประจำให้เป็นรูปแบบตามหลักเกณฑ์การสะกด เมื่อใช้บ่อย ๆ ก็จะเกิดความคุ้นเคยกับรูปการสะกดของคำนั้น ๆ ไปเอง

[แก้] การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอื่น


[แก้] ตัวอย่างรายการคำทับศัพท์ตามการสะกดของราชบัณฑิตยสถาน

คำทับศัพท์: A B C D E F G H I J K L M N O P Q R S T U V W X Y Z

[แก้] ดูเพิ่ม

[แก้] แหล่งอ้างอิง

Our "Network":

Project Gutenberg
https://gutenberg.classicistranieri.com

Encyclopaedia Britannica 1911
https://encyclopaediabritannica.classicistranieri.com

Librivox Audiobooks
https://librivox.classicistranieri.com

Linux Distributions
https://old.classicistranieri.com

Magnatune (MP3 Music)
https://magnatune.classicistranieri.com

Static Wikipedia (June 2008)
https://wikipedia.classicistranieri.com

Static Wikipedia (March 2008)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com/mar2008/

Static Wikipedia (2007)
https://wikipedia2007.classicistranieri.com

Static Wikipedia (2006)
https://wikipedia2006.classicistranieri.com

Liber Liber
https://liberliber.classicistranieri.com

ZIM Files for Kiwix
https://zim.classicistranieri.com


Other Websites:

Bach - Goldberg Variations
https://www.goldbergvariations.org

Lazarillo de Tormes
https://www.lazarillodetormes.org

Madame Bovary
https://www.madamebovary.org

Il Fu Mattia Pascal
https://www.mattiapascal.it

The Voice in the Desert
https://www.thevoiceinthedesert.org

Confessione d'un amore fascista
https://www.amorefascista.it

Malinverno
https://www.malinverno.org

Debito formativo
https://www.debitoformativo.it

Adina Spire
https://www.adinaspire.com